คุณรู้จักมั้ย? ยาสูบผสมสมุนไพรชนิดใหม (Spice / K2)
ยาสูบผสมสมุนไพรชนิดใหม (Spice / K2)
หลายปที่ผานมาธุรกิจยาสูบสมุนไพรไดมีการขยายตัวมากขึ้น มีวัยรุนไทยบางกลุม หันมาสูบยาสูบสมุนไพรที่มีชื่อเรียกวา บารากู (Baraku) ซึ่งมีตนกําเนิดมาจากประเทศตุรกี ตัวยาที่ใชในการสูบบารากูนั้น มาจากการนํายาเสนมาบดผสมกับเปลือกผลไมแตละชนิด เชน แอปเปล สตรอเบอรรี่ เชอรรี่ มินต หรือ องุน เปนตน โดยสูบผานอุปกรณที่เปนภาชนะทําจาก แกวรูปทรงคลายตะเกียง ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค เพื่อการไมสูบบุหรี่ เปดเผยวาการสูบบารากูอันตรายกวา การสูบบุหรี่หลายเทา โดยการสูบแค 25 กรัมจะทําให ไดรับนิโคตินเทากับการสูบบุหรี่ 60 มวน รวมทั้ง การสูบผานน้ํายังทําใหไดรับสารพิษ ในระดับสูง ทั้งคารบอนมอนอกไซด นิโคติน และสารกอมะเร็งชนิดตางๆ
นอกจากนี้ ยังมียาสูบสมุนไพรอีกชนิดหนึ่ง ที่เริ่มแพรหลายและระบาดในทวีปยุโรป อเมริกา และหลายประเทศในทวีปเอเชีย ไดแก Spice หรือที่เรียกกันอีกชื่อหนึ่งวา K2 บรรจุในซองอลูมิเนียม ปริมาณบรรจุประมาณ 3 กรัม ราคาประมาณซองละ 30 US$ หรือ1000 บาท ผูเสพจะมีความรูสึกผอนคลาย เคลิบเคลิ้มเหมือนการสูบกัญชา แต Spice จะแรงกวาถึง 4 เทา รวมทั้งมีผลขางเคียงที่รุนแรง เชน อาการวิตกกังวลอยางฉับพลัน รุนแรง (Anxiety attack)อาการประสาทหลอน (Hallucination) อาการคลื่นไส(Nausea) อาการสมองบวม (Swelling brain) เปนตน
ซึ่งขณะนี้ยังไมไดรับรายงานถึงการตรวจพบ หรือแพรระบาดในประเทศไทย อยางไรก็ตามหนวยงานที่เกี่ยวของตองมีการเฝาระวังและ ติดตามยาสูบสมุนไพรผสมชนิดนี้อยางใกลชิดเชนกัน เพื่อเปนการศึกษาขอมูลเบื้องตน และเตรียมมาตรการรองรับ รวมทั้งการออกกฎหมายควบคุมในกรณีที่เกิดการแพรระบาด ในประเทศไทยในอนาคต K2/Spice เปนสารเสพติดสังเคราะหในกลุมของ Synthetic Cannabis ซึ่งเปน สารเสพติดสมุนไพรที่มีฤทธิ์ตอจิตประสาท (Psychoactive Herbal) โดยออกฤทธิ์ คลายกับสาร Tetrahydrocannabinol ซึ่งเปนสวนผสมหลักในกัญชา (Cannabis) แตสวนผสมที่ผูผลิตแจงไวไมมีสวนผสมที่เปนพืชกัญชาหรือสารเคมีที่มีอยูในพืชกัญชา โดยสมุนไพรที่เปนสวนประกอบใน Spice สวนใหญเปนสมุนไพรที่ใชในผลิตภัณฑยา เครื่องเทศ หรือเครื่องหอมทั่วไปที่ไมผิดกฎหมาย ไดแก Canavalia maritime (ถั่วคลา) , Nymphaea cairulea (บัวน้ําเงิน) , Scutellaria nana , Pedicularis densiflora , Leonotis leonurus , Zornia latifolia , Nelumbo nucifera (บัวหลวง) และ Leonurus sibiricus (กัญชาเทศ) เปนตน
Spice ที่จําหนายในทองตลาดปจจุบันมีหลายชนิด แตกตางกันตามสวนผสม และสัดสวนของสารตางๆ เชน Spice Gold , Spice Silver , K2 Summit , Dragon Spice , Yucatan Fire , Black Diamond , Black Mamba , Mojo , Tai High ฯลฯ นอกจากนี้มีการดัดแปลงผลิตภัณฑไปในลักษณะของสารที่มีสมุนไพรผสม (Herbal smoking mixture) เชน ธูปสมุนไพร (Herbal Incense) , ผลิตภัณฑให กลิ่นหอมในหอง (Room odoriser) เปนตน ซึ่งสวนผสมที่เปนสมุนไพรใน Spice สวนใหญไมไดรับการควบคุมจากนานาประเทศ ซึ่งทําใหในอนาคตมีแนวโนมที่จะไดรับ ความนิยมในกลุมผูเสพมากขึ้น ตัวอยางผลิตภัณฑของ Spice หรือ K2 / 3 / 4 การตรวจพิสูจน Spice ปจจุบันไดมีนักวิทยาศาสตรจาก สถาบันชั้นนําหลายประเทศในยุโรปและ อเมริกา พยายามทําการตรวจวิเคราะหหา สวนประกอบที่แทจริงของ Spice นอกเหนือ จ า ก ที่ ผู ผ ลิ ต แ จ ง ไ ว ว า มี สารแอบแฝงชนิดใดที่ทําใหผูเสพมีความรูสึก เหมือนการเสพกัญชา รวมทั้งอันตรายของ Spice เพื่อที่จะไดเตรียมการรองรับหรือ กําหนดมาตรการควบคุมตอไป
โดยในปพ.ศ.2539 ประเทศสวีเดน ไดนําตัวอยาง Spice มาตรวจแยกวิเคราะหในหองปฏิบัติการทางเคมี ผลการตรวจวิเคราะหในครั้งนั้นปรากฏ วาตรวจไมพบสารตองหามใดๆใน Spice นอกจากนี้ Dr.Elizabeth Williamson ศาสตราจารยดานเภสัชกรรม จากมหาวิทยาลัยเรดดิ้ง ประเทศอังกฤษ ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญในดานสมุนไพร ไดทําการ ตรวจสวนผสมตามที่ผูผลิตแจงไวที่บรรจุภัณฑ พบวาไมมีสวนผสมใดที่ผิดกฎหมาย และ เมื่อนําไปตรวจวิเคราะหดวยเทคนิคทินเลเยอรโครมาโตกราฟฟ (Thin-Layer Chromatography) แลว ไมปรากฏพบสารเคมีใน Spice เชนกัน
ตอมาในป พ.ศ.2541 THC Pharmacy ซึ่งเปนองคกรทางดานเภสัชกรรม ของประเทศเยอรมันในการศึกษาพัฒนาสมุนไพรเพื่อใชผลิตเปนยา ไดทําการตรวจ วิเคราะหสวนผสมของ Spice อยางละเอียด ทําใหพบสาร JWH-018 ซึ่งเปน สารสังเคราะหที่ใหผลการเสพเหมือนกัญชา และเปนสารสังเคราะหหนึ่งในสามชนิดที่ผสม อยูใน Spice หลังจากนั้นในป พ.ศ.2552 มหาวิทยาลัยไฟรบวก ประเทศเยอรมัน ไดนํา Spice มาตรวจวิเคราะห ผลปรากฏวา พบสาร CP 47,497 ซึ่งเปนสารสังเคราะหที่ใหผลเหมือนกัญชา อีกชนิดหนึ่ง
ศุลกากรของสหรัฐฯ (US Customs & Border Protection) ไดรายงานการตรวจพบสารสังเคราะห HU-210 ใน Spice ซึ่งใหผลเหมือนกัญชาเชนกัน 5 รายละเอียดสารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิด จากการตรวจพบสารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิดที่ผูผลิต Spice ไมไดแจงไว ทําใหหลายประเทศในยุโรปไดคํานึงถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูเสพไดในอนาคต เนื่องจากเปนสารที่ไดรับการสังเคราะหขึ้นมาใหม ทําใหยังไมไดศึกษาถึงอันตรายและ พิษภัยของสารเหลานี้ที่มีตอรางกายมนุษย จึงยังไมมีการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย แตอยางใด
โดยรายละเอียดของสารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิด มีดังนี้ 1. JWH-018 JWH -018 (1-pentyl-3-(1-naphthoyl)indole) เปนสารที่สังเคราะหขึ้นในป 2541 โดย John W. Huffman ซึ่งเปนศาสตราจารยทางเคมี ของมหาวิทยาลัย Clemson South Carolina และใหใชชื่อยอของตัวเองเปนชื่อของสาร ดังกลาว โดยวัตถุประสงคของการสังเคราะหสาร JWH-018 เพื่อใชเปนเครื่องมือในการศึกษาวิจัยกลไกการทํางานของสารเคมี (อัลคาลอยด) ในพืชกัญชาที่มีตอมนุษยและสัตว เนื่องจากสาร สังเคราะหชนิดนี้มีฤทธิ์ระงับอาการเจ็บปวด ออกฤทธิ์เหมือนสาร delta 9-THC ที่อยูใน พืชกัญชา โดยใหฤทธิ์ที่แรงกวา แตมีสูตรโครงสรางที่ตางกัน ดังนั้น การตรวจวิเคราะห ทางหองปฏิบัติการจึงตรวจไมพบสารเคมีจากพืชกัญชา 2. CP 47,497 CP 47,497 (cis-3-[2-hydroxy- 4(1,1-dimethylheptyl)pheny1]-cyclohexan- 1-01 สังเคราะหขึ้นในราวป 2523 โดย Charles Pfizer ซึ่งเปนบริษัทผลิตยายักษใหญของสหรัฐฯ เพื่อใชเปนสารในการวิจัยทางวิทยาศาสตร เชนเดียวกับ สาร JWH-018 เนื่องจากมีฤทธิ์เหมือนสาร delta 9-THC ที่อยูในพืชกัญชา โดยใหฤทธิ์ที่แรงกวา และมีสูตรโครงสรางที่ตางกัน 6 3. HU-210 HU-210 (+)-1,1-dimethylheptyl สังเคราะหขึ้นครั้งแรกในป 2541 โดยทีมงานของ Dr.Raphael Mechoulam แหงมหาวิทยาลัย Hebrew ในเมืองเยรูซาเลม เพื่อใชเปนเครื่องมือ ในการวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทํางานของสารเคมี ในพืชกัญชา เนื่องจากมีฤทธิ์เหมือน delta 9-THC เชนเดียวกับสาร JWH-018 และ CP 47,497 โดยใหฤทธิ์ที่แรงกวาและนานกวา แตมีสูตรโครงสรางตางกัน จากคุณสมบัติของสารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิด ที่ใหฤทธิ์เหมือนสารเคมี delta 9-THC ซึ่งเปนสารเคมีหลักในพืชกัญชา จึงทําใหมีผูถือโอกาสนําเอาสารเหลานี้ มาผสมในยาสูบสมุนไพร หรือ Spice เนื่องจาก 1. ใหผลเหมือนการสูบกัญชา แตมีฤทธิ์ที่แรงกวา 2. สูตรโครงสรางของสารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิด ไดแก JWH-018 , CP 47,497 และ HU-210 มีโครงสรางทางเคมีที่แตกตางจาก delta 9-THC และสารอื่นๆที่มีอยูในพืชกัญชา ทําใหการตรวจวิเคราะหจึงตรวจไมพบกัญชา ในสวนผสมนั้น 3. สารสังเคราะหทั้ง 3 ชนิด เปนสารที่ไดรับการสังเคราะหขึ้นมาใหม จึงยังไมเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย ทําใหยังไมมีประเทศใดไดออกกฎหมายควบคุม แตหลังจากไดมีการตรวจวิเคราะหพบสารสังเคราะหใน Spice แลว หลายประเทศจึงได เริ่มใหความสนใจและออกกฎหมายควบคุมทั้งยาสูบสมุนไพรผสม และสารสังเคราะห ดังกลาว
ทั้งนี้ วัตถุประสงคในการสังเคราะหสารทั้ง 3 ชนิดนี้ เนื่องจากมีฤทธิ์ บางสวนเหมือนสารเคมีในพืชกัญชา (delta 9-THC) นักวิจัยจึงนํามาใชแทน สาร delta 9-THC กับสัตวทดลอง เพื่อดูกลไกการทํางานของสารเคมีในพืชกัญชา ตอรางกายสัตวและมนุษย ดังนั้น การเสพสารเหลานี้เขาไปอาจเปนอันตรายไดใน ระยะยาว 7 วิธีการเสพ Spice เนื่องจาก Spice เปนสวนผสมของพืชสมุนไพรหรือเครื่องเทศหลายชนิดที่ มีกลิ่นหอม การเสพจึงนิยมนํามามวนกับกระดาษแลวสูบเหมือนสูบบุหรี่ หรือ ใชอุปกรณ เชน กลองสูบยาเสน เปนตน หรือเสพโดยวิธีสูดกลิ่นแบบเครื่องหอม โดยนํามาใสภาชนะกระเบื้องหรือ โลหะ แลวเผาไฟเพื่อใหกลิ่นควันกระจายไปทั่วหอง 8 Spice เริ่มไดรับความนิยมอยางแพรหลายมากขึ้น โดยเฉพาะในสหรัฐฯ และ ทวีปยุโรป ซึ่งผูผลิตและผูคา Spice พยายามที่จะหลีกเลี่ยงกฎหมายโดยการเปลี่ยนแปลง สูตรหรือสวนผสมใน Spice ในลักษณะของ Designer Drug ซึ่งทําใหการขายหรือ การเสพ Spice ในบางประเทศไมผิดกฎหมายอีกดวย ทั้งนี้ ในปจจุบันยังไมมีวิธีที่จะ ทําการทดสอบสําหรับการใช Spice ทําใหมีผูเสพจํานวนมากใช Spice แทน การเสพกัญชา ซึ่งทําใหเจาหนาที่และหนวยงานที่เกี่ยวของตองรวมมือกันหาแนวทาง ในการควบคุมดูแลสารเสพติดชนิดใหมนี้อยางจริงจังตอไป
ผลจากการศึกษาและวิจัยยาสูบสมุนไพรผสม หรือ Spice ทําใหหลายประเทศ ในทวีปยุโรป เชน ประเทศเยอรมัน ฝรั่งเศส ชิลี โปรแลนด รัสเซีย สวีเดน สวิสเซอรแลนด ออสเตรีย และ สหราชอาณาจักร ทําการหามใช Spice ยกเวน สหรัฐอเมริกา ที่ขณะนี้ยังไมมีกฎหมายมาดูแลและควบคุม ทําให Spice ไดรับ ความนิยมเปนอยางมากในกลุมวัยรุนสหรัฐฯ โดยมีการขายอยางแพรหลายผานรานคา ทั่วไปและผานสื่ออินเตอรเน็ท
สถานการณลาสุดในเดือนมีนาคม 2554 Drug Enforcement Administration (DEA) ของสหรัฐอเมริกา ไดประกาศใหสาร Synthetic cannabinoids 5 ชนิด ไดแก JWH-018 , JWH-073 , CP-47,497 , JWH-200 และ Cannabicyclohexanol เปนสาร ที่ผิดกฎหมายในประเทศสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ไมคอยมีการจับกุม Spice ในปริมาณมากๆ เหมือนกับสารเสพติด ประเภทอื่นๆ ซึ่งอาจจะเปนการแสดงใหเห็นถึงการมีความรูเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเคมี และผลกระทบของ Spice ในขอบเขตที่จํากัด ซึ่งทําใหการติดตามและควบคุมผลิตภัณฑ ที่เกี่ยวของกับ Spice เปนไปดวยความยากลําบาก
ข้อมูลจาก สวนวางระบบและพัฒนาขอมูล สํานักยุทธศาสตร กันยายน 2554
เอกสารอางอิง : ยาสูบสมุนไพรผสม (Spice)
โดยนายวิเชษฐ พุทธวิริยากร ผูอํานวยการสถาบันวิชาการและตรวจพิสูจน ยาเสพติด
สํานักงาน ป.ป.ส. , ตุลาคม 2552