หน้าแรก ตรวจหวย เว็บบอร์ด ควิซ Pic Post แชร์ลิ้ง หาเพื่อน Chat หาเพื่อน Line หาเพื่อน Skype Page อัลบั้ม คำคม Glitter เกมถอดรหัสภาพ คำนวณ การเงิน
ติดต่อเว็บไซต์ลงโฆษณาลงข่าวประชาสัมพันธ์แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสมเงื่อนไขการให้บริการ
เว็บบอร์ด บอร์ดต่างๆค้นหาตั้งกระทู้

อย่าอั้น "ตด" บนเครื่องบิน 🤢🤢

โพสท์โดย Tonygooog


เชื่อว่าใครหลายคนต้องเคยกลั้นผายลมหรืออั้นตดกันมาบ้าง โดยเฉพาะในลิฟร์หรือในที่ที่มีคนเยอะ ๆ แต่ผลวิจัยจากทีมนักวิจัยแพทย์โรคทางเดินอาหารจากประเทศอังกฤษและเดนมาร์ก เผยผลวิจัยการ "ไม่ควรกลั้นลมหายใจ โดยเฉพาะเวลาอยู่บนเครื่องบิน"


ผลวิจัยชี้ว่าเราจะอยากผายลมบ่อยกว่าปกติเมื่อเวลาอยู่บนเครื่องบิน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความดันภายในห้องโดยสาร

แน่นอนว่าการผายลมหรือตดนั้นก็เป็นการปล่อยก๊าซตามธรรมชาติรูปแบบหนึ่ง แต่เมื่อเราเลือกจะกักเก็บก๊าซเรื่อย ๆ โดยไม่ปลดปล่อยออกบ้าง หากปล่อยมานัดเดียวอาจมีทำลายล้างสูงก็เป็นได้และนอกจากพลังกลิ่นเกินรับแล้วการกลั้นผายลมเกิดความเครียด, มีความอึดอัด, ปวดท้อง, ลำไส้มีอาการบวมแก๊ส, อาหารไม่ย่อย และอาจจะเกิดอาการอื่นๆ ขึ้นอีกมากมาย ดังนั้นพยายามอย่ากลั้นตดเลยมันเป็นเรื่องธรรมชาติที่ยากนักที่ใครจะห้ามได้

 #วิจัย #งานวิจัย #นักวิจัย #Bansorn

⚠ แจ้งเนื้อหาไม่เหมาะสม 
Tonygooog's profile


โพสท์โดย: Tonygooog
เป็นกำลังใจให้เจ้าของกระทู้โดยการ VOTE และ SHARE
10 VOTES (5/5 จาก 2 คน)
VOTED: Tonygooog, bgs
Hot Topic ที่น่าสนใจอื่นๆ
เรื่องราวของมนุษย์ยักษ์ ตำนานหรือความจริง?หนุ่มดื่มน้ำเต้าหู้มากไป นมเลยใหญ่เท่าคัพดีย้อนอดีตสยามผ่านภาพถ่าย: มุมมองผ่านกาลเวลาCannes 2024 ไฮไลท์วันที่ 4 กับ 4 ซุปตาร์ฝั่งเอเชียลาวพบพระพุทธรูปสวยงามองค์ใหญ่ ใต้พื้นทรายในแม่น้ำโขงอาการ"ปารีสซินโดรม"คืออะไรกว่าจะมาเป็นกิมจิ ที่ทุกคนรู้จักอย่างวันนี้เครื่องบินโบอิ้งตกรัวๆ! บริษัทถูกสอบหนัก! คนแฉดับปริศนา2ราย!น่าเอ็นดู! คุณแม่พาลูกน้อยมาทำบุญ..พอพระให้พรก็หัวเราะชอบใจ
Hot Topic ที่มีผู้ตอบล่าสุด
หนุ่มดื่มน้ำเต้าหู้มากไป นมเลยใหญ่เท่าคัพดีCannes 2024 ไฮไลท์วันที่ 4 กับ 4 ซุปตาร์ฝั่งเอเชียกว่าจะมาเป็นกิมจิ ที่ทุกคนรู้จักอย่างวันนี้10 คำคมเรียนรู้ชีวิต แบบฉบับไทย-อังกฤษ
รู้และเข้าใจนิยามอุณหภูมิห้องในทางวิทยาศาสตร์คุก 3 ปี ทั้งผู้จ้างและผู้รับจ้างทำวิทยานิพนธ์3 ผลเสียจากการใช้สารกำจัดศัตรูพืชพาราควอต-คลอร์ไพริฟอสนักวิจัยออสเตรเลียเตรียมทดลองวัคซีนโควิด-19 ในคน
ตั้งกระทู้ใหม่